หน้าแรก > กิจกรรม

ดนตรีและการแสดง

ดนตรีไทยมีคุณอดุลย์ค่า

เพลงตับสมิงทอง และเพลงปลาทอง เถา

คอนเสิร์ต CU SILVER VOICES – RAINBOW of LOVE (เชียงใหม่)

อำนวยเพลงโดย ดร.ภาวศุทธิ์ พิริยะพงษ์รัตน์

The Viola Lovers Concert (ไทเป)

คอนเสิร์ต CU SILVER VOICES – RAINBOW of LOVE (กรุงเทพฯ)

โดยคณะนักร้องประสานเสียงนิสิตเก่าอาวุโส จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุฬาวาทิต

นำเสนอเสนอการบรรเลงของวงปี่พาทย์
เพลงเขมรไทรโยค สามชั้น ตับเรื่องสังข์ศิลปชัย และเพลงแขกมอญ

ฟังดนตรีที่จุฬาฯ: “วงมิตรประสาร” โดยอาจารย์ประสาร วงศ์วิโรจน์รักษ์ และเพื่อน

บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ วงเครื่องสายไทยและร่วมสมัย

ดนตรีสโมสร EP.9 เพลง ‘รุ่งอรุณฤดูใบไม้ผลิ’ ผลงานประพันธ์ของ ศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร จากบทพระราชนิพนธ์แปลของกรมสมเด็จพระเทพรัตนฯ

ได้รับเกียรติจากศาสตราจารย์ ฟู่ เจิงโหย่ว ที่ปรึกษาอาวุโสของสถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุณามาอธิบายความหมายของบทกวีนี้ว่ามีความลึกซึ้งอย่างไร ทำไมจึงเป็นบทที่มีชื่อเสียงมาแต่โบราณ

The Viola Lovers Concert (กรุงเทพฯ)

ดนตรีไทยมีคุณอดุลย์ค่า

เพลงสร้อยเพลง ใน 3 รูปแบบ
1. สร้อยเพลง บทขับร้องจากพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6 เรื่องศกุนตลา บรรเลงโดยวงจุฬาวาทิต
2. สร้อยเพลง บทนิพนธ์ หม่อมเจ้าหญิงพิจิตรจิราภา เทวกุล บรรเลงโดยวงสิทธิถาวร
3. สร้อยเพลง บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6 (เพลงรักชาติบ้านเมือง พระราชทานเป็นบทร้องของเสือป่า) บรรเลงโดย สำนักการสังคีต กรมศิลปากร
และเพลงสุดท้ายสร้อยลำปาง เถา

จุฬาวาทิต

เพลง พิรุฬสร่างฟ้า เถา กัลยาเยี่ยมห้อง เถา วิเวกเวหา สาลิกาชมเดือน แขกมอญ สารถี และเพลงสีนวล

ดนตรีไทยมีคุณอดุลย์ค่า

การอบรมเชิงปฏิบัติการและการแสดงคอนเสิร์ต “คีตามันถนะ : ท่วงทำนองและจังหวะข้ามพรมแดน (Gita Manthana: Churning of Transnational Sounds and Tabla Beats)”

สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม ร่วมกับ ศูนย์เอเซียใต้ศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา และ ศูนย์อินเดียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย