แหล่งรวมสรรพวิทยาการอันเกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรมไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตระหนักถึงความสำคัญในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ทั้งการสืบทอด อนุรักษ์ และเผยแพร่ โดยเป็นหนึ่งในพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
๑๐๐ เรื่องจามจุรี ๑๐๐ ปีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะสัตวแพทยศาสตร์ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ.๒๔๗๘ เมื่อมีการเปิดรับสมัครนิสิตเข้ามาศึกษาสาขาสัตวแพทยศาสตร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นครั้งแรก โดยเรียนร่วมกับนิสิตเตรียมแพทยศาสตร์บ้าง เตรียมเภสัชศาสตร์บ้างในบางวิชา ต่อมาใน พ.ศ.๒๔๘๐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ตั้งแผนกสัตวแพทยศาสตร์ขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมอาชีพต่างๆแก่ประชาชน รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์ด้วย ต่อมาในพ.ศ.๒๔๘๖ เมื่อได้มีพระราชบัญญัติจัดตั้งมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ แผนกสัตวแพทยศาสตร์จึงแยกออกจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไปรวมกับมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และใน พ.ศ.๒๔๙๗ ได้เปลี่ยนไปเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๕๑๐ จึงได้โอนกลับมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอีกครั้ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตระหนักถึงความสำคัญในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ทั้งการสืบทอด อนุรักษ์ และเผยแพร่ โดยเป็นหนึ่งในพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
กระแสประชาธิปไตยเบ่งบานหลังกรณี ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ ได้ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนระบบการบริหารงานของนิสิตด้วยโดยเปลี่ยนจากระบบสโมสรแบบเดิม
คณะแพทยศาสตร์ คือคณะแรกที่พัฒนาเป็นมหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
อนุญาตทั้งหมดประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้
รายละเอียดคุกกี้
ข่าวสารและสาระความรู้