๔ คณะเริ่มแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะรัฏฐประศาสนศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
๑๐๐ เรื่องจามจุรี ๑๐๐ ปีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Chulalinet (Chulalongkorn University Library Information Network) หรือเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคือต้นแบบห้องสมุดอัตโนมัติที่สมบูรณ์แบบแห่งแรกของประเทศไทยซึ่งสถาบันวิทยบริการได้พัฒนาการให้บริการขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๑ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะทำให้ห้องสมุดทุกแห่งในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อมต่อกันได้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่ เพื่อช่วยให้นิสิต อาจารย์ นักวิชาการ สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุดทุกแห่งได้อย่างรวดเร็วโดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ นับตั้งแต่แรกเริ่ม คือ พ.ศ.๒๕๓๑ เป็นต้นมาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เพิ่มสมรรถนะด้านเทคโนโลยีและเพิ่มศักยภาพในการให้บริการมาโดยลำดับ ทั้งการสืบค้นสารสนเทศและการแลกเปลี่ยนข้อมูลในระดับชาติและนานาชาติ โดยให้บริการ ๒๔ ชั่วโมงทุกวัน ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อเข้าใช้บริการพร้อมกันได้โดยไม่จำกัดจำนวนการสืบค้น ซึ่งมีสมาชิกห้องสมุดเครือข่ายรวม ๓๘ แห่ง
ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะรัฏฐประศาสนศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งเป็นคณะเศรษฐศาสตร์ขึ้นเพื่อผลิตบัณฑิตทางวิชาเศรษฐศาสตร์โดยเฉพาะ
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
อนุญาตทั้งหมดประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้
รายละเอียดคุกกี้
ข่าวสารและสาระความรู้