สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ทรงสอนและพัฒนามหาวิทยาลัยในระยะแรกเริ่ม
๑๐๐ เรื่องจามจุรี ๑๐๐ ปีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตั้งอยู่ ณ ตึกพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ เริ่มดำเนินการสร้างอาคารตั้งแต่ปลาย ปี พ.ศ.๒๕๓๑ ต่อมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๔ ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงวิวัฒนาการของกล้องถ่ายภาพอุปกรณ์การถ่ายภาพต่างๆ และภาพถ่ายตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันรวมทั้งวิวัฒนาการความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีการพิมพ์และวัตถุพิมพ์ ถือเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งแรกของประเทศไทยที่จัดแสดงกล้องถ่ายภาพภาพถ่ายสีเชิงศิลปะ วิทยาศาสตร์การพิมพ์และเทคโนโลยีทางภาพฯ อื่นๆ เป็นการเฉพาะและครบวงจร
ทรงสอนและพัฒนามหาวิทยาลัยในระยะแรกเริ่ม
เป้าหมายสำคัญประการหนึ่งของการก่อตั้งโรงเรียนมหาดเล็กซึ่งสืบเนื่องต่อมายังโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตั้งแต่แรกเริ่มก่อตั้ง คือการผลิตบุคคลเข้าสู่ระบบราชการโดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าราชการสายปกครองให้กับกระทรวงมหาดไทย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดแสดง “เอกสหิบิเชน” หรือพิพิธภัณฑ์สิ่งของที่หาได้บนเกาะสีชัง
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
อนุญาตทั้งหมดประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้
รายละเอียดคุกกี้
ข่าวสารและสาระความรู้