พระบรมราชูปถัมภก
สืบเนื่องเป็นพระราชปฏิบัติว่าพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีทรงเป็นพระบรมราชูปถัมภกของสถาบันแห่งนี้
๑๐๐ เรื่องจามจุรี ๑๐๐ ปีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไทยมีรัฐบาลพลเรือนมาระยะหนึ่ง จนกระทั่งวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๐ ได้เกิดการรัฐประหารโค่นอำนาจรัฐบาลพลเรือนของพลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ หลังจากนี้ สังคมไทยได้มีแนวโน้มกลับสู่ลัทธิอำนาจนิยมอีกครั้ง ในระยะนี้ขบวนการเคลื่อนไหวของนิสิตนักศึกษาได้รวมตัวขึ้นและกลายเป็นพลังสำคัญส่วนหนึ่งในการคัดค้านและถ่วงดุลกับแนวโน้มเผด็จการ และนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก็ได้เข้าไปมีบทบาทร่วมด้วย โดยเฉพาะในเรื่องการลงนามเรียกร้องสันติภาพใน พ.ศ.๒๔๙๔ – ๒๔๙๕ ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวต่อต้านการส่งทหารไทยไปรบในสงครามเกาหลีและเรียกร้องให้แก้ไขปัญหาระหว่างประเทศด้วยสันติวิธี
สืบเนื่องเป็นพระราชปฏิบัติว่าพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีทรงเป็นพระบรมราชูปถัมภกของสถาบันแห่งนี้
ซึ่งหมายถึงจะต้องเป็นหลักให้แก่ประเทศชาติได้ ทั้งในด้านการเป็นแหล่งศึกษาศิลปวิทยาการขั้นสูง และการเป็นแหล่งผลิตบุคคลออกไปรับใช้ประเทศชาติ ทั้งยังเป็นหลักอันแสดงความมีอารยะของสยามประเทศ ที่สะท้อนความเป็นชาติที่มีพัฒนาการก้าวไปตามกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
อนุญาตทั้งหมดประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้
รายละเอียดคุกกี้
ข่าวสารและสาระความรู้